รู้จักสื่อสาธารณะของประเทศที่เป็น “ต้นแบบ” ของสื่อสาธารณะอย่างอังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ทั้งประวัติ แนวคิด และการดำเนินงาน …
เมื่อเทคโนโลยีทำให้ทุกคนสามารถมีเครื่องมือสื่อสาร “ผู้รับสื่อ” จึงสามารถกลับมาเป็น “ผู้ส่งสาร” ผ่านสื่อสู่มวลชนได้เพียงปลายนิ้ว การสื่อสารของ “สังคมเสมือน” ในโลกออนไลน์ ได้ส่งผลสะเทือนสู่ “สื่อ” …
จากกำเนิดโทรทัศน์ไทยที่นอกจากเพื่อการเผยแพร่ความรู้และความบันเทิงที่ภาพและเสียงถูกถ่ายทอดออกมาพร้อมกันแล้ว ยังเป็นไปเพื่อการเผยแพร่ความคิดและอำนาจของผู้มีอำนาจ ซึ่งยังคงเป็นมาเช่นนั้นทุกยุคทุกสมัย
ฟังเรื่องราวจากวิทยุคลื่นสำคัญในอดีต ทั้งคลื่นความคิดอุดมการณ์ทางการเมืองหลากหลายรูปแบบ เช่น รายการสนทนาชวนเชื่อ เพลงปลุกใจและลำนำจากป่า เพลงเพื่อชีวิต คลื่นความบันเทิงอย่างละครวิทยุ และโฆษณา ประสบการณ์ “สื่อ” …
ชมตัวอย่างภาพยนตร์เรื่องสำคัญในแต่ละยุคที่เกิดขึ้นในสังคมไทย วิถีของการชมภาพยนตร์ในอดีตอันเป็นที่มาของการจัดโปรแกรมรายการโทรทัศน์ในปัจจุบัน รับรู้เบื้องหลังของภาพยนตร์ที่ให้มากกว่าความบันเทิง แต่เป็นการต่อสู้ทางอุดมการณ์ผ่านแผ่นฟิลม์
อ่านข่าวในหนังสือพิมพ์ยุคแรก สมัยรัชกาลที่ ๓ สื่อมวลชนซึ่งมีบทบาทในการสร้าง “พื้นที่สาธารณะ” ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย สัมผัสตัวเรียงพิมพ์แบบตัวตะกั่ว เทคโนโลยีการพิมพ์เมื่อกว่า ๑๐๐ ปีที่กำลังจะสูญหายไปจากกระบวนการสิ่งพิมพ์ …
ฟังการเล่าข่าวดังเมื่อกว่า ๑๐๐ ปีก่อน ด้วยวิธีการ “แหล่” ของนักสื่อสารมวลชนยุคแรกของไทย วิถีการเสพข่าวของชาวบ้านในอดีต ที่ผู้ส่งและผู้รับสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างซึ่งหน้า ก่อนยุคของการใช้ “สื่อ” …
ในยุคสมัยที่เทคโนโลยี ช่วยให้การสื่อสารสะดวกรวดเร็ว เพียงสัมผัสด้วยปลายนิ้ว เครื่องมือการสื่อสารถูกผลิต ให้คนทั่วไปใช้อย่างแพร่หลาย และโลกออนไลน์มอบพื้นที่เสรี ในการนําเสนอข้อมูลทุกชนิด สภาพการณ์ ยิ่งสะท้อนว่า “สื่อ” …
ภาพประกาศ หรือโปสเตอร์ เคยเป็นสื่อมีอิทธิพลอย่างมากที่กลุ่มอํานาจและองค์กรธุรกิจใช้ประกาศ “สาร” โน้มน้าวความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมของผู้คนอย่างมีประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ผ่าน “ดวงตาอื่น” สามารถให้การศึกษา ใช้เป็นหลักฐานข้อมูลอ้างอิง สะกิดความรู้สึก สร้าง ความประทับใจ จุดประกายปัญญาให้ผู้คนมากมาย ทว่าในขณะเดียวกันมันก็สร้างความบิดเบือน เข้าใจผิด …